วันเสาร์ที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2559

การออกแบบความสนุก Entertainment Design

หน้าที่ของผมทุกวันนี้คือการออกแบบ มวล ความสนุก
การออกแบบความสนุก entertainment design 
สำหรับผมวัดกันตรงที่มีใครยอมจ่ายเงินมาเพื่อความสนุกหรือไม่
ก่อนจะทำสิ่งนี้ได้ เราต้องเข้าใจก่อนว่าคำว่าสนุก เป็นเรื่องสัมพัทธ์ (reletively)
สนุกของเราก็อาจจะไม่สนุกของเค้า สนุกของคนทำก็อาจจะไม่ใช่สนุกของคนดู
ดังนั้นทุกงานจะต้องเริ่มตั้งที่บรรทัดฐานว่า ความสนุกของคนดูคืออะไร
เป็นเส้นบรรทัดสำหรับวัด
สำหรับคอนเสิร์ตเดี่ยวผมรู้สึกว่าความสนุกของคนดูในระดับที่เค้าจ่ายเงินมาดูคือ 
การพบปะกับศิลปินที่เค้าเรา เพราะผมทดสอบมาว่าถ้าคนจะจ่ายเงินมาดูคอนเสิร์ต
คนจะยอมควักกระเป๋าโดยดูก่อนว่าใครเป็นศิลปิน และอาจจะคิดต่อว่าดูมากี่ครั้งแล้ว
จะน่าเบื่อมั้ย ถ้าเค้ามีเพลงใหม่ๆหรือกำลังดังในกระแสก็พอจะเดาได้ง่ายว่า เค้าคงจ่าย
มาดูความสนุกในสิ่งเหล่านั้น แต่ปัญหาของทุกๆวันนี้คือ
ทุกสิ่งมันซ้ำๆไปหมด เราต้องขายของบ่อยขึ้นเร็วขึ้น เพราะเป็นยุค
ของกระแสนิยมที่มาเร็วไปเร็ว อยากได้เงินก็ต้องทำตอนกระแสมา 

สำหรับ พวกfestival  คือบรรยากาศการไปร่วมงานนั้นๆ โดยมีองค์ประกอบมากมาย
แต่สำหรับไทยก็ยังเป็นศฺลปินที่สามารถดึงดูดความต้องการของเด็กไปดูได้

ดังนั้นพวกงานบันเทิงแบบอื่นจึงมีปัญหาเสมอ เช่นพวกละครเวที
ต่างๆ งานศิลปะ มันเป็ฯความสนุกแบบต้องมีความรู้ จึงกรองคนออกไปจำนวนมาก
และบางที่ยังต้องรอคนไปดูแล้วมาบอกต่อ

ปัญหาของการทำงานออกแบบคือสถานที่
เพราะทุกวันนี้าคาสถานที่เปฯสิ่งที่แพง งานความสนุกใหม่ๆที่ไม่ใช่
เรื่องนำเอาศิลปินมาขายจึงเป็นเรื่องยาก
(คอนเสิร์ตจึงเป็นสิ่งที่ขายง่ารยขายด้วยแค่หน้าหนัง เรราไม่มีทางรู้เลยว่าคอนจริงๆเป็นอย่างไร
เพราะเล่นแค่2-3รอบ ท้ายสุดคือขายบนความเชื่อ)
ดังนั้นงานออกแบบความสนุกแบบอื่นนั้นจึงต้องใช้เวลาและการลงทุน
ให้คนรู้จักว่านี่คือความสนุกแบบใหม่ที่ไม่ได้เอาบรรทัดฐานไว้ที่ศิลปฺิน
การลงทุนครั้งแรกเลยมักจะเจ๊งเสมอ

(ยังไม่จบ)